Page 7 - E-BOOK
P. 7

รัฐบาลภายใต้การน�าของ
            พล.อ.ประยุทธ์   จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
            และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
            มีนโยบายให้ความส�าคัญในการดูแล
            คุณภาพชีวิตให้กับผู้ใช้แรงงาน
            โดยเฉพาะด้านการสร้างโอกาสและความ
            เสมอภาคทางสังคม เพื่อให้ครอบคลุม
            การดูแลบริการและสิทธิประโยชน์
            ของแรงงานทุกกลุ่มทุกวัย กระทรวง
            แรงงาน ภายใต้การก�ากับดูแลของ
            พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายก
            รัฐมนตรี และนายสุชาติ ชมกลิ่น รัฐมนตรี
            ว่าการกระทรวงแรงงาน ได้มอบหมาย
            ให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงแรงงาน
            ส่งมอบของขวัญปีใหม่ให้แก่ผู้ใช้แรงงาน
            ส�านักงานประกันสังคมในฐานะหน่วยงาน
            ที่มีพันธกิจการบริหารการประกันสังคม
            และเงินทดแทน โดยการจัดการที่มี
            ประสิทธิภาพ เพื่อให้แรงงานมีหลักประกัน                  ระยะเวลา   1  เดือน ผู้ประกันตน                  3.    จัดหาของเยี่ยมให้กับผู้ประกันตน
            การด�ารงชีวิตที่มั่นคง ผมขอส่งมอบ  ไม่ต้องส�ารองจ่าย 18,000 บาทต่อคน    ทั้ง 3 มาตรา (มาตรา 33 มาตรา 39
            ความสุขให้กับผู้ประกันตนตามมาตรา 33   (เฉลี่ยมารับบริการคนละ 12 ครั้งต่อเดือน)    และมาตรา 40) ที่เป็นผู้ป่วยติดเตียง
            มาตรา 39 และมาตรา 40 เป็นของขวัญ  รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 4.32 ล้านบาท  ผู้ทุพพลภาพ ที่รักษาตัว ณ สถานพยาบาล
            ปีใหม่ 2565 ส�าหรับผู้ประกันตน ดังนี้            ระยะเวลาสูงสุด 3  เดือน    หรือออกเยี่ยม ณ บ้านพักของผู้ประกันตน
                    1.  ลดขั้นตอนอนุมัติสิทธิ   ผู้ประกันตนไม่ต้องส�ารองจ่าย    54,000   บาท
            ส�านักงานประกันสังคมปรับรูปแบบ ต่อคน (เฉลี่ยมารับบริการคนละ 36 ครั้ง)      ในนามของส�านักงานประกันสังคม
            บริการขออนุมัติสิทธิฟอกเลือด   รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 12.96 ล้านบาท   ผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการมอบของขวัญ
            ผู้ประกันตนไม่ต้องส�ารองจ่ายได้ตั้งแต่          2.  ลดอัตราเงินสมทบของ   ปีใหม่ 2565 ในครั้งนี้ ส�านักงานประกันสังคม
            เดือนมกราคม 2565  เป็นต้นไป   ผู้ประกันตนตามมาตรา  40  เหลือร้อยละ   60    จะเป็นส่วนหนึ่งในการได้ดูแลผู้ประกันตน
            โดยพัฒนาระบบการลงทะเบียน  เป็นระยะเวลา 6 เดือน                     ทุกท่านในทุกช่วงของการเกิดวิกฤตการณ์
            การบ�าบัดทดแทนไตกรณีฟอกเลือดร่วมกับ                                “ขอให้พี่น้องผู้ประกันตน  ลูกจ้าง  นายจ้าง
            ส�านักสารสนเทศบริการสุขภาพ (สกส.)        ทางเลือกที่ 1 จากอัตราเงินสมทบ   รวมถึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนที่
            จากเดิม ผู้ประกันตนรายใหม่ไปรักษาที่  เดิม 70 บาทต่อเดือน อัตราเงินสมทบ  เปรียบเสมือนครอบครัวประกันสังคมทุกคน
            สถานพยาบาลต้องส�ารองจ่ายไปก่อน  ใหม่ 42 บาทต่อเดือน                มั่นใจว่า ผมและเจ้าหน้าที่ส�านักงาน
            และไปยื่นเอกสารที่ส�านักงานประกันสังคม                             ประกันสังคมทุกคนทุกพื้นที่ทั่วประเทศ
            รอผลการอนุมัติใช้ระยะเวลารอคอยนาน       ทางเลือกที่ 2 จากอัตราเงินสมทบ   พร้อมมุ่งมั่นท�างานหนัก ท�างานเชิงรุก
            (สูงสุดใช้ระยะเวลา 3 เดือน) เปลี่ยนเป็น   เดิม 100 บาทต่อเดือน อัตราเงินสมทบ  และต่อเนื่อง เพื่อให้ส�านักงานประกันสังคม
            ผู้ประกันตนรายใหม่ไปยื่นที่สถานพยาบาล  ใหม่ 60 บาทต่อเดือน         เป็นองค์กรที่ประชาชน ยอมรับ เชื่อมั่น
            ที่รักษาได้ทันที ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์                            ไว้วางใจ  ในการสร้างหลักประกัน
            โดยไม่ต้องส�ารองจ่าย ท�าให้ผู้ประกันตน      ทางเลือกที่ 3 จากอัตราเงินสมทบ   ความมั่นคงในการด�ารงชีวิตแก่ผู้ประกันตน”
            ได้รับความสะดวกรวดเร็ว (One Stop  เดิม 300 บาทต่อเดือน อัตราเงินสมทบ  ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี   ด้วยความห่วงใย
            Service) ลดเอกสาร ลดขั้นตอน      ใหม่ 180 บาทต่อเดือน              และสร้างก�าลังใจให้กับผู้ประกันตน
                    ส�าหรับผู้ประกันตนไตวายเรื้อรัง                            ในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ ฉบับหน้าผมมี
            ระยะสุดท้ายรายใหม่ และมารับบริการ      ผู้ประกันตนมาตรา 40 ได้รับ  เรื่องดีๆ บอกกล่าวอีกนะครับ
            ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมเฉลี่ย  ประโยชน์จากการลดอัตราเงินสมทบ
            เดือนละ 240 คน (อัตราเท่าที่จ่ายจริง  จ�านวน 10.57 ล้านคน รวมวงเงิน
            ไม่เกิน 1,500 บาทต่อครั้ง)       หมุนเวียนเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ จ�านวน
                                             1,408.56 ล้านบาท
                                                                                         วารสารประกันสังคม   7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12